วันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2557

5.การพัฒนาการด้านรีโมทเซนซิ่ง


ตารางแสดงสรุปการพัฒนาการด้านรีโมทเซนซิ่ง



ปี ค.ศ.
การพัฒนาด้านรีโมทเซนซิง
1820
1859
1862
1910
1920

1960
1962
1962
1966
1972
1978
1982
1986
1988
1991
1995
1992-1998
1996-1997
1998


1999

2000
เริ่มต้นใช้กล้องถ่ายรูป
เริ่มต้นใช้บอลลูนในการบันทึกภาพ ณ ประเทศฝรั่งเศส
เริ่มต้นทำแผนที่ป่าไม้จากภาพถ่ายทางอากาศ
Wilbur Wright บันทึกภาพพื้นโลกครั้งแรกจากเครื่องบิน
ได้ทำการทำแผนที่ป่าไม้อย่างเป็นระบบจากภาพถ่ายทางอากาศ
โดยประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา
เริ่มต้นใช้ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา  TIROS-1
เริ่มต้นใช้กล้องถ่ายรูประบบหลายช่วงคลื่น  โดย  Zaitor และ Tsuprun
เริ่มบันทึกพื้นผิวโลกจากยานอวกาศเมอคิวรี่
เริ่มใช้การวิเคราะห์ภาพข้อมูลโดยระบบคอมพิวเตอร์ในการประยุกต์ทางด้านการเกษตร
เริ่มส่งดาวเทียม  LANDSAT-1 เข้าสู่วงโคจร
เริ่มส่งดาวเทียม  SEASAT
เริ่มส่งดาวเทียม  LANDSAT  ระบบ Thematic Mapping  ดวงที่ 4
เริ่มส่งดาวเทียม  SPOT
เริ่มส่งดาวเทียม  IRS1-A  โดยประเทศอินเดีย
เริ่มส่งดาวเทียม  IRS1-C  โดยประเทศอินเดีย
เริ่มส่งดาวเทียม  RADARSAT  โดยประเทศแคนาดา
เริ่มส่งดาวเทียม  JERS-1  โดยประเทศญี่ปุ่น
เริ่มส่งดาวเทียม  ADEOS  โดยประเทศญี่ปุ่น
เริ่มส่งดาวเทียม  LANDSAT  ระบบ Thematic Mapping ดวงที่  7  (Enhanced Thematic Mapping – ETM) โดยเพิ่มช่วงคลื่นที่ใช้ศึกษาเกี่ยวกับพืช (Vegetation  Monitoring) อีก 1  ช่วงคลื่น
หน่วยงานเอกชนของสหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาระบบ IKONOS-2 ซึ่งมีรายละเอียด 1 เมตรในระบบขาวดำ และ 5 เมตรในระบบสี
ญี่ปุ่นพัฒนาดาวเทียม ADEOS-2  :  แคนาดาพัฒนา RADARSAT-2  สหรัฐอเมริกาพัฒนา HRST,  ออสเตรเลียพัฒนา  AIRIES  อินเดียพัฒนา IRS-P  สหรัฐ (เอกชน)  พัฒนา  QUICKBIRD-1  อิสราเอล และสหรัฐร่วมกันพัฒนา WIS Eros-A






แหล่งที่มา
สมพร  สง่าวงศ์. 2543 อ้างจาก Star and Estes,1990 และสุวิทย์  วิบูลย์เศรษฐ,2543